วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

ปริมาณต่างๆของการเคลื่อนที่





ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนวตรงตำแหน่ง (position) คือ จุดที่บอกให้ทราบว่าวัตถุหรือสิ่งของ อยู่ทีใดเมื่อเทียบกับจุด (อ่านเพิ่มเติม)

อัตราเร็วและความเร็ว


 ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่  ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน  และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่  จึงทำให้เกิดปริมาณสัมพันธ์ขึ้น  ปริมาณดังกล่าวคือ อัตราเร็ว  คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา  จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบเอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที  ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใช้หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว  (อ่านเพิ่มเติม)

ความเร่ง



.คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณ เวคเตอร์  หรืออัตราการเปลี่ยนความเร็ว         (อ่านเพิ่มเติม)

แรง


 แรงมีผลต่อรูปร่าง และการเคลื่อนที่ของวัตถุ  แรงเดี่ยวสามารถเปลี่ยนความเร็วของวัตถุ (นั่นคือทำให้วัตถุมีความเร่ง)   แรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้ามกันจะเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาดของวัตถุ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์   มีทั้งขนาดและทิศทาง  มีหน่วยเป็นนิวตัน  ชนิดของแรงที่สำคัญคือ  แรงโน้มถ่วง  แรงแม่เหล็ก   แรงไฟฟ้า และแรงนิวเคลียร์ (อ่านเพิ่มเติม)

กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน


กฎข้อที่ ของนิวตัน (กฎความเฉื่อย) "วัตถุคงสภาพอยู่นิ่ง หรือสภาพการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตังในแนวตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุนั้น" (อ่านเพิ่มเติม)

หน่วยฐาน


หน่วยฐานเอสไอ (อังกฤษ: SI base unit) เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ (อ่านเพิ่มเติม)

หน่วยอนุพันธ์


หน่วยอนุพันธ์เอสไอ (อังกฤษ: SI derived Units) คือหน่วยที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยฐานเอสไอโดยการคูณหรือหาร เพื่อใช้ในเรื่องการวัดและการแสดงปริมาณต่างๆ ซึ่งหน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมายไม่จำกัด (อ่านเพิ่มเติม)

เลขนัยสำคัญ


เลขนัยสำคัญ (significant figure) คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน (uncertainty) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่เราเลือกใช้ด้วย (อ่านเพิ่มเติม)

วันอาทิตย์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2559

กฎข้อที่2กฎเเห่งความเร่ง

กฎข้อที่ กฎแห่งความเร่ง   (ซิกม่า F = Ma) ในตอนที่แล้วเรื่องกฎข้อที่ กฎแห่งความเฉื่อย  แรงสมดุลกันไม่มีความเร่ง พอมาตอนนี้เราจะเล่าให้ฟังถึงกรณีที่แรงไม่สมดุล (อ่านเพิ่มเติม)

แรงโน้มถ่วง

  การหล่นของผลแอปเปิ้ลทำให้เกิดคำถามอยู่ในใจของนิวตัน ว่าแรงของโลกที่ทำให้ผลแอปเปิ้ลหล่นน่าจะเป็นแรงเดียวกันกับแรงที่  "ดึง" ดวงจันทร์เอาไว้ไม่ไปที่อื่นและทำให้เกิดโคจรรอบโลกเป็นวงรี ผลการคำนวณเป็นสิ่งยืนยัน (อ่านเพิ่มเติม)